ຄວາມເປັນມາຂອງກົມຮ່ວມມືລະຫວ່າງປະເທດ( ໂຄງການ TICA Cooperation ) - ໂຮງຮຽນເຕັກນິກ-ວິຊາຊີບແບບປະສົມ ແຂວງໄຊຍະບູລີ Ivetsayaboury Province

ກົດເມົ້າໃສ່ທີ່ນີ້ ຄວາມຮູ້ກ່ຽວກັບຄອມພິວເຕີ

ເລືອກພາສາ

ຄະນະອຳນວຍການໂຮງຮຽນເຕັກນິກ-ວິຊາຊີບແບບປະສົມ

Tuesday, September 24, 2019

ຄວາມເປັນມາຂອງກົມຮ່ວມມືລະຫວ່າງປະເທດ( ໂຄງການ TICA Cooperation )

   ອີງຕາມFacebook ຂອງTICA Cooperation ກົມຮ່ວມມືລະຫວ່າງປະເທດTICA ຕອນທີ4 ຕາມຮອຍໂຄງການ
SEP ໃນ ສ ປ ປ ລາວໄດ້ຂຽນດັ່ງນີ້:



ท่านที่ติดตาม เพจ ของ TICA มาโดยตลอดคงจะผ่านหูผ่านตา โครงการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การเกษตรอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่วิทยาลัยเทคนิคกสิกรรมดงคำช้าง” คงจะทราบแล้วว่า โครงการนี้อยู่ที่นครหลวงเวียงจันทน์ และถือว่าเป็นโครงการแรกๆ ที่ TICA ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานให้คนไทยไปประยุกต์หรือปรับใช้ใน สปป.ลาว
เราชาว TICA ก็เช่นกันค่ะ ได้ยินได้ฟังมาตลอดเกี่ยวกับความสำเร็จของโครงการนี้จากเล่าเรื่องหรือการบอกกล่าวจากคนที่เคยไปเยี่ยมไปชมมาแล้ว อย่างที่เราเคยบอกว่า เสน่ห์การทำงานของ TICA คือ เรามีความหลากหลายของบุคลากรที่ทำงานด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นนักวิเทศสหการ นักการทูต เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่พัสดุ แต่ละคนก็มีบทบาทหน้าที่ที่ต่างกัน บางคนก็ทำงานมานานจะเกษียณอยู่แล้วยังไม่เคยเห็นผลสำเร็จของโครงการของ TICA เลย เคยแต่ได้ยินได้ฟังโครงการจากคนอื่นหรือเจ้าของโครงการ คงเคยได้ยินสุภาษิตที่ว่า”สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ากับการลงมือทำ” ดังนั้น อาทิตย์นี้เราจึงได้ส่งทีมงานจำนวน 36 คน ลงพื้นที่โครงการ แต่ไหนๆ จะไปทั้งทีไปเฉพาะ TICA ก็คงจะไม่ดีมั้ง โครงการดี ๆ แบบนี้ เราก็ควรชวนภาคีอื่นๆ ร่วมไปด้วยเพื่อให้เกิดการบูรณาการในการทำงาน รวมทั้งสร้างเครือข่ายระหว่างกัน เราจึงชวนกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กรมองค์การระหว่างประเทศ คุณธิติยา ปานมณี หัวหน้าสำนักงานหนังสือเดินทางจังหวัดอุดรธานี น้องต้าร์ ชลินทรา ปรางค์ทอง ปลัดอำเภอระดับปฏิบัติการอำเภอเมือง หนองคาย และน้องท๊อป ภานุวัฒน์ กุลเสน หนุ่มหนองคาย ร่วมเดินทางไปด้วย
การเดินทางไป สปป.ลาว ครั้งนี้เราโชคดีมากที่ได้มีโอกาสได้เข้าพบเอกอัครราชทูต ณ เวียงจันทน์ นายเกียรติคุณ ชาติประเสริฐ และทีมงานของสถานเอกอัครราชทูต ตามมารยาทเราก็ต้องไปเยี่ยมคารวะท่านทูตเพื่อรายงานว่าเรามาทำอะไรบ้างเพื่อให้ท่านทูตได้รับทราบ และให้แนวทางการทำงานหรือข้อเสนอแนะในการทำงานกับ สปป.ลาว ในฐานะที่ท่านเป็นหัวหน้าทีมประเทศไทย หรือเป็นตัวแทนของประเทศไทยใน สปป.ลาว หลังจากนั้น ท่านทูตได้กรุณาเลี้ยงอาหารกลางวันให้คณะเราด้วย รวมทั้งอีกคณะที่มาวางแผนงาน 3 ปีของ TICA ซึ่งมีนายบรรจง อมรชีวิน รองอธิบดี TICA เป็นหัวหน้าคณะ และมีผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกรมเอเชียตะวันออก ในโอกาสนี้ ขออนุญาตเป็นตัวแทนของพี่ๆ น้องๆ TICA กราบขอบพระคุณท่านทูต มา ณ ที่นี่ด้วยค่ะ
จากนั้น เราก็ได้เดินทางไปวิทยาลัยกสิกรรมดงคำช้าง เราได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากอาจารย์บุนมา ผู้อำนวยการวิทยาลัยกสิกรรมดงคำช้าง และคณะครูของวิทยาลัย ถึงแม้ว่าวันนี้จะเป็นวันหยุดแต่ผู้บริหารและอาจารย์ของวิทยาลัยฯ ก็มาต้อนรับคณะของพวกเราอย่างเต็มใจ ครั้งนี้ เราได้ฟังการบรรยายความเป็นมาของศูนย์เรียนรู้ฯ แห่งนี้ ซึ่งโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ (1) เพื่อตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ (2) เพื่อให้ศูนย์เรียนรู้นี้เป็นต้นแบบให้แก่วิทยาลัย/โรงเรียนในสังกัดกรมอาชีวศึกษา และ(3) เพื่อพัฒนาวิทยาลัยฯ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์ที่มีความพร้อมสำหรับการให้บริการวิชาชีพ การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน
ปัจจุบันศูนย์เรียนรู้แห่งนี้ ได้สิ้นสุดระยะเวลาโครงการแล้ว ซึ่ง TICA และวิทยาลัยฯ โดยตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ ที่ได้ทำหน้าที่บรรลุวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ข้อแล้ว โดยเฉพาะการเป็นต้นแบบของวิทยาลัยอาชีวศึกษาใน สปป ลาวในด้านการเกษตรแบบยั่งยืน ขณะนี้ได้มีการขยายผลไปยังแขวงคำม่วน และแขวงเซกองแล้ว และในปี 2563 จะขยายไปยังแขวงไซยะบุรีและบ่อแก้ว ต้องเรียนให้ทุกๆ ท่านทราบก่อนว่า ในระยะเริ่มต้นทางวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญกับการสอดแทรกให้ฐานเรียนรู้ทั้ง 22 ฐาน ซึ่งจะสอดคล้องกับวิชาที่สอน เพื่อให้ศูนย์เรียนรู้แห่งนี้ เป็นห้องเรียนที่มีชีวิต” ของน้องๆ นักศึกษาวิทยาลัย และในปัจจุบันได้กลายเป็นห้องปฏิบัติการหรือโครงการวิจัยของอาจารย์ผู้สอนที่ไปเรียนต่อในระดับปริญญาโท/เอก เพื่อเป็นการวิเคราะห์วิจัยและทดลองในด้านปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์อีกด้วย
แต่ความสำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการตั้งศูนย์เรียนรู้เท่านั้น ก้าวย่างต่อไปที่ท่านจิดตะกอน สีชานน รองผู้อำนวยการวิทยาลัยกสิกรรมดงคำช้างได้บอกกับเราคือ ศูนย์เรียนรู้แห่งนี้จะต้องขยายผลไปสู่ชุมชน และทำให้ที่วิทยาลัยเป็นวิทยาลัยที่ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์หรือปลอดสารพิษ รวมทั้งเป็นวิทยาลัย zero waste อีกด้วย
จากการรับฟังการบรรยายทำให้เราทราบว่า ศูนย์เรียนรู้ที่วิทยาลัยเทคนิคกสิกรรมดงคำช้างนี้ได้ดำเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและกีฬาลาวที่ต้องการให้เยาวชนลาวสนใจเรียนเกษตรมากขึ้นจากเดิมปีละ 220 คน ปีนี้เพิ่มขึ้นเป็น 300 คน นอกจากนี้ ผู้บริหารของวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ที่สุดยอดคือ มีการสร้างเครือข่ายทั้งในและนอกประเทศ รวมทั้งแสวงหาความร่วมมือจากแหล่งผู้ให้ต่างๆ เพื่อนำมาเสริมต่อหรือต่อยอดความร่วมมือที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั้งความชัดเจนในเป้าหมายที่จะก้าวไปข้างหน้า
จากนั้นเราได้ลงเยี่ยมชมพื้นที่โครงการไปดูแปลงผักปลอดสารพิษ แปลงปลูกแคนตาลูปที่ต้องรอคิวนะจ๊ะหากอยากจะลิ้มรส หรือการปลูกผักสวนครัว หรือมะนาวในกระถาง นอกจากนี้เราก็ข้ามสะพานมิตรภาพที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่างกลุ่มปลูกฝังและเลี้ยงสัตว์เพื่อไปดูการเลี้ยงสัตว์ คอกหมู คอกไก่ คอกแพะ ซึ่งเป็นสัตว์เศรษฐกิจของลาว บ่อปลา บ่อกบที่มีหลายคนได้เรียนรู้การแยกเพศกบด้วย
ก่อนจะลากลับประเทศไทย เราก็ได้มีการถอดบทเรียนที่เราได้รับจากการดูงานในครั้งนี้ว่า หากเราใช้หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไขมาอธิบายเราจะจัดลงแต่ละกล่องความรู้อย่างไร และกระบวนการคิด การพัฒนาทำอย่างไร การเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาที่เค้าพูดๆ กัน คือ เค้าทำกันอย่างไร ซึ่งการถอดบทเรียนนี้ นำโดยน้องโอ๊ะ กฤษฎา ผกากาญจน์ และคุณณรัฐ วิชญนันท์ คณะทำงานเศรษฐกิจพอเพียง ต้องบอกว่า เข้มข้นมากๆ และสรุปบทเรีบนครั้งนี้โดยท่านรองบรรจง อมรชีวิน รองอธิบดี TICA ได้สรุปให้พวกเราเข้าใจได้มากยิ่งขึ้น
การไป สปป.ลาวครั้งนี้ นอกจากเราจะได้ไปลงพื้นที่โครงการแล้ว ผลพลอยได้จากการไปครั้งนี้ ทำให้เราได้รู้จัก สปป.ลาวมากขึ้น การศึกษาเรียนรู้รากเหง้า วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งประวัติศาสตร์ของ สปป.ลาว อย่างรวดเร็ว คือ การเรียนรู้ผ่านการเยี่ยมชมสถานที่สำคัญๆ ของ สปป.ลาว เช่น วัดพระธาตุหลวง ประตูไช พิพิธภัณฑ์หอพระแก้ว และวัดสีสะเกด
ณ เวลานี้ พวกเราทุกคนได้เดินทางกลับถึงกรุงเทพโดยสวัสดิภาพแล้ว เราขอขอบพระคุณผู้ใหญ่ใจดี ผู้บริหาร TICA ที่ให้การสนับสนุนกิจกรรมดีๆ นี้ทำให้เราได้เห็นว่า การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในต่างประเทศผลสำเร็จของการทำงานคืออะไร หลังจากนี้ ติดตามนะคะว่า การแบ่งปันความรู้จากการดูงานทั้งสองเส้นทางของ TICA จะเป็นอย่างไร จริงจังแค่ไหน บอกแล้วไงว่า สัมมนาของ TICA ต้องเข้มข้นจ้าาา ติดตามนะคะ

 People who follow the page of tica always have passed through the eyes. "the project established sustainable agriculture learning center according to the philosophy of the sustainable economy at the college of technique technical college" I would know that this project is in Nakhon Luang. Nutmeg and considered the first project that tica has led to the main philosophy of the sustainable economy that the KING RAMA 9 has given to Thai people to apply or use it in the dea. Laos

We are tica too. I have heard about the success of this project from the story or the notice from the people who have visited. It's like we used to say that the charm of tica is that we have a variety of personnel who work together, whether it's a a. The diplomat, the financial officer, the parcel officer, each person has a different role. Some people have been working for a long time. They have been retired and have not seen the success of the project of tica. I have heard that I have heard a project from other people or the owner of the project. I must have heard the saying It's not as good as the eyes. See ten eyes. It's not equal to action. " so this week we have sent 36 teams on the floor at the project. But when we are going to the whole team, only tica is not good. This kind of good project, we should invite. Other partners join in for the integration of work, including networking. We invite the department of international economy, the department of international organization, Mr.. Pan, the head of the passport office, Udon Thani Province, nong tar,,. ., Deputy Chief of operation, mueang nong khai district and nong a in, nong khai num.

The trip to the hip. Laos, this time we are very lucky to have a chance to meet the ambassador at Vientiane, the honorable master and the team of the embassy. According to the manners, we have to visit the ambassador to report what we have done for the ambassador to acknowledge and Provide a guideline or feedback to work with the dea. Laos as you are the head of Thailand team or represent Thailand in the hip. Laos, after that, the ambassador had a lunch party for our faculty, including the others who came to plan the 3 years of tica, which has Mr. Rajasthani accept, Deputy Director Tica as the head of the faculty and has a delegation of ministry of agriculture and cooperative and the Asian Department. East, on this occasion, I would like to be the representative of brothers and sisters. Tica thank you to the ambassador.

Then we got to go to university cuddle, lift dong. We received a warm welcome from teacher in, director of of cuddle, lift, dong, and faculty of teachers of college, although today is a holiday, but the executive and master of the college. We are here to welcome our team willingly. This time we listen to the history of this learning center. This project has 3 Purpose (1) to set the learning center (2) to make this learning center a prototype. To the college / school of department of vocational education and (3) to develop college as a learning source in the organic agricultural community that is ready for professional service, training, education, work.

Now, this learning center has ended the project period, which tica and college have set up a learning center that has served all 3 objectives. Especially the prototype of vocational college in Laos in sustainable agriculture. Now it has been expanded to kham kham and,, and in 2563, it will be extended to the region of cy and the pond. It must be learned that in the beginning of the college, it has been focused on the Let's try to learn all 22 bases that will be consistent with the subjects that are taught to make this center a "living classroom" of students, college students, and now have become a laboratory or research project of instructors who continue to study at the level. Master's degree / majors for research, research and testing in plants and animals.

But the success that happens is just the beginning of the learning center. The next step at the you sludge, the deputy director of of cuddle, lift dong has told us that this learning center must be expand to the community and make it. At College, it is a college that produces organic or non-toxic agricultural products as well as zero waste college.

From listening to the lecture, let us know that the learning center at kasikorn technical college, this elephant word has been conducted according to the policy of the ministry of education and Lao Sports that want lao youth to be interested in studying more agriculture from the beginning of 220 people. This year, it has increased. 300 people in addition, the management of the college has a great vision. It is networking both in and out of the country, as well as seeking cooperation from the sources of givers to continue to enhance or punch the existing cooperation to be the most effective, including the clarity in the goal. Move forward

Then we have visited the project area. Go to see the pesticide-free plant. Convert to the Cancun to wait for the queue. If you want to taste or grow vegetables, garden, kitchen or lemon in the pot, we also cross the friendship bridge that is a bridge between the group. Cultivate and raise animals to go to see the animal feed, the pig stall, the chicken stall, which is the economic animal of Laos, pond fish pond, the frog that many people have learned to separate the frog's gender too.

Before going back to Thailand, we have been taking off the lessons we received from watching this time. That if we use the main 3 HOOPS 2 conditions to explain, we will arrange each box, how knowledge and development process, how to understand access. And the development that they say is how they do it, which taking off this lesson is LED by little oh, the poor man, and you at the cuddle th of the cuddle th. The sustainable economic staff must say. Very intense and a summary of the script on this time by Deputy Rajasthani accept, Deputy Director of tica, has concluded more to us.

Going to the hip. Laos this time, besides we can go to the project area. The perk from going this time makes us know the hip. More Laos, study, learn roots, lifestyle, Arts, culture, including the history of the hip. Laos quickly is learning through visiting the important places of the dea. Laos, such as wat phra that luang, gate,, museum and wat color.

At this time, we all have a safe trip back to Bangkok. We would like to thank the kind adults, executives of tica for supporting this good activity. Let us see that the implementation of the philosophy of sustainable economy is used abroad. What is the success of work? After this, follow me to share. The knowledge from seeing both directions of tica. How serious is it? I told you that the seminar of tica must be intense.






 

No comments:

Post a Comment

'; (function() { var dsq = document.createElement('script'); dsq.type = 'text/javascript'; dsq.async = true; dsq.src = '//' + disqus_shortname + '.disqus.com/embed.js'; (document.getElementsByTagName('head')[0] || document.getElementsByTagName('body')[0]).appendChild(dsq); })();

ສົນທະນາ